|
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
สภาตำบลมหาสอน ได้รับการยกฐานะเป็น องค์การบริหารส่วนตำบลมหาสอน ตามประกาศระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 19 มกราคม 2539 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับทั่วไป เล่ม 113 ตอนที่ 9 ง ลงวันที่ 30 มกราคม 2539 และมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2539 |
|
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลมหาสอน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ของอำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ห่างจากตัวอำเภอบ้านหมี่ 12 กิโลเมตร |
|
|
|
 
|
|
|
|
|
|
|
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ต.ไผ่ใหญ่, ต.เชียงงา |
อ.เมืองลพบุรี จ.ลพบุรี |
|
|
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ต.บางขาม |
อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี |
|
|
|
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ต.บางพึ่ง, ต.สนามแจง |
อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี |
|
|
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ต.โพธิ์ชัย |
อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี |
|
|
|
  
  
   |
|
 
|
|
|
|
|
ภูมิประเทศของ องค์การบริหารส่วนตำบลมหาสอน มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่ม ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออก เป็นพื้นที่สำหรับที่อยู่อาศัยประมาณ 60 % เป็นพื้นที่สำหรับการเกษตร 35 % และมีพื้นที่ส่วนอื่นๆ 5 % มี 3 ฤดู (ฤดูร้อน ฤดูฝน
ฤดูหนาว) |
|
|
|
|
|
|
ลักษณะอากาศมีลักษณะร้อนชื้น อากาศเปลี่ยนแปลงไปตามฤดู ซึ่งมี 3 ฤดู ดังนี้ |

 |
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ ไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม อากาศร้อนและแห้งแล้ง แต่บางครั้งอาจมีอากาศเย็น บางครั้งเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง และลมกรรโชกแรงหรืออาจมีลูกเห็บตก ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชนทุกปี เรียกว่า “พายุฤดูร้อน” อากาศร้อน |
|
|
จะมีอุณหภูมิระหว่าง 35 – 39.9 องศาเซลเซียส ร้อนจัด มีอุณหภูมิประมาณ 40 องศาเซลเซียสขึ้นไป |

 |
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ฝนตกมากในช่วงเดือนพฤษภาคม – ตุลาคม แต่อาจเกิด “ฝนทิ้งช่วง” ซึ่งอาจนานประมาณ 1 – 2 สัปดาห์หรือบางปีอาจเกิดขึ้นรุนแรง และมีฝนน้อยนานนับเดือนในเดือนกรกฎาคม และเคยเกิดอุทกภัยรุนแรง มีฝนตกเฉลี่ยประมาณ 900 มิลลิเมตร |

 |
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ในช่วงกลางเดือนตุลาคมราว 1 – 2 สัปดาห์เป็นช่วงเปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนเป็นฤดูหนาว อากาศแปรปรวนไม่แน่นอน อาจเริ่มมีอากาศเย็นหรืออาจยังมีฝนฟ้าคะนอง อากาศหนาวอุณหภูมิต่ำสุด ประมาณ 20 องศาเซลเซียส |
|
|
|
|
|

 |
การเกษตร ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลมหาสอน ร้อยละ 70 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญได้แก่ ข้าว ดังนี้ |
|
|
|

 |
อาชีพเกษตรกรรม |
ร้อยละ 70 |
ของจำนวนประชากรทั้งหมด |
|

 |
อาชีพเลี้ยงสัตว์ |
ร้อยละ 13 |
ของจำนวนประชากรทั้งหมด |
|

 |
อาชีพรับจ้าง |
ร้อยละ 8 |
ของจำนวนประชากรทั้งหมด |
|

 |
อาชีพค้าขาย |
ร้อยละ 9 |
ของจำนวนประชากรทั้งหมด |

 |
การประมง ลุ่มน้ำบางขาม |

 |
การปศุสัตว์ มีการเลี้ยงสัตว์ส่วนใหญ่ใช้ไว้บริโภคในครัวเรือน เหลือจากบริโภคจึงจะจำหน่ายภายในท้องถิ่น เช่น โค กระบือ เป็ด สุกร ปลาดุก เป็นต้น |
|
|
|
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 3,384 คน แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 1,619 คน |
คิดเป็นร้อยละ 47.84 |

 |
หญิง จำนวน 1,765 คน |
คิดเป็นร้อยละ 52.16 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 1,126 ครัวเรือน |
|
|
|
|
|
|
หมู่ที่ |
หมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
|
|
1 |
|
บ้านห้วยแก้ว |
300 |
302 |
602 |
183 |
|
|
2 |
|
บ้านปากดง |
192 |
211 |
403 |
151 |
|
|
3 |
|
บ้านบางพึ่ง |
269 |
312 |
581 |
189 |
|
|
4 |
|
บ้านมหาสอน |
200 |
226 |
426 |
152 |
|
|
5 |
|
บ้านใหม่ |
201 |
220 |
421 |
135 |
|
|
6 |
|
บ้านขอม |
187 |
204 |
391 |
142 |
|
|
7 |
|
บ้านบางน้อย |
189 |
212 |
401 |
116 |
|
|
8 |
|
บ้านหนองคาง |
81 |
78 |
159 |
58 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
รวม |
1,619 |
1,765 |
3,384 |
1,126 |
|
|
|
 
|
|
|
|
|
|
 |
|
|